
RFID SERVICES

RFID PRODUCTS

RFID SOLUTIONS
ทั้งนี้ ทั้งสินค้าที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ ระบบเราสามารถพัฒนา และปรับแต่ง (customization) ให้รองรับได้ทั้งหมด
RFIDคืออะไร ?


RFIDคืออะไร ?
อาร์เอฟไอดี (RFID ย่อมาจากคำเต็มว่า Radio-frequency identification) เป็นวิธีการในการเก็บข้อมูลหรือระบุข้อมูลแบบอัตโนมัติ โดยทำงานผ่านการรับสัญญาณจากแท็กเข้าสู่ตัวส่งสัญญาณ ผ่านทางคลื่นวิทยุ แท็กของอาร์เอฟไอดีโดยปกติจะมีขนาดเล็กซึ่งสามารถติดตั้งเข้ากับผลิตภัณฑ์สินค้า สัตว์ บุคคลได้ ซึ่งเมื่อตัวส่งสัญญาณส่งคลื่นวิทยุไป และพบเจอแท็กนี้ สัญญาณจะถูกส่งกลับพร้อมกับข้อมูลที่เก็บไว้ในแท็ก โดยตัวส่งสัญญาณนี้เองยังสามารถบันทึกข้อมูลลงในแท็กได้
แท็กอาร์เอฟไอดีจะประกอบไปด้วยสองส่วนหลักคือ ส่วนวงจรไฟฟ้าที่เก็บข้อมูลและคำนวณการของข้อมูล และอีกส่วนคือส่วนเสาอากาศหรือตัวรับส่งสัญญาณ
RFID tag มีการทำงานบางส่วนที่สามารถทำงานได้ในขณะที่ไม่มีแบตเตอรี่ และมีแบตเตอรี่ นั้นคือการอ่านและเขียนบน EEPROM ผ่านทาง Low frequency radio
ที่มา: https://th.wikipedia.org/
RFID ความถี่และระยะทาง

เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID Technology) ใช้คลื่นวิทยุ (Radio frequency) ในการทำงาน และคลื่นวิทยุที่ใช้ในเทคโนโลยีอาร์เอไอดี (RFID) จะอยู่ในช่วงความถี่ระหว่าง 30 Hzและ 300 GHz ปัจจบันเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) ได้มีการพัฒนาขึ้นไปมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยี UHF RFID Tag สำหรับคลื่นความถี่ UHF ได้มีการพัฒนาให้สามารถทำงานบนพื้นผิวโลหะหรือคววมชื้นได้มากขึ้น
RFID ความถี่และระยะทาง
RFID นั้นใช้คลื่นความถี่วิทยุตามที่ชื่อบอกในการที่จะเคลื่อนย้ายหรืออ่านข้อมูลระหว่าง ตัวอ่าน (Reader) และ tag (ขึ้นส่วนอุปกรณ์ใดๆ ที่เราต้องการตรวจสอบความมีตัวตน) เมื่อเรานำ tag เข้าใกล้ตัวอ่าน ตัวอ่านจะทำการส่งสัญญาณเพื่อเปิดการ ทำงาน (turn on) หลังจากนั้น tag จะส่งข้อมูล ID กลับมาให้ตัวอ่าน และ นำค่าที่ได้ไปประมวลผล สำหรับตัวอ่านนั้นจะมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้
– เสาอากาศ
– ตัวถอดรหัส
– ตัวเปลี่ยนแปลงข้อมูลหน่วยเชื่อมกันคอมพิวเตอร์(Computer Interface)
– Power supply
ส่วน tag นั้นจะมีขนาดและรูปแบบต่างๆ กัน ซึ่งประกอบด้วย
– Chip ซึ่งมีขนาดเล็กมาก
– เสาอากาศ Unique Identifier Number หรือตัวที่ทำหน้าที่บอกหมายเลขของตน อาจจะเรียกอีกอย่างว่า SID
– Read/write data block
RFID PRODUCTS :สินค้าที่เป็นไปได้ในการนำ RFIDไปใช้งาน


Active Reader
-The TagMaster LR-6 Reader
-Tag Master Heavy Duty Active RFID Reader
-Active RFID Tag (Mark Tag Classic)
-Active RFID Tag (Mark Tag HD)
-Active RFID Tag (Mark Tag MeM)
Long Range Reader
Directional RFID Reader
4 Port Antenna RFID Reader (M6)
4 Port Antenna RFID Reader [ThingMagic IZAR]
4 Port Antenna RFID Reader [FEIG Reader]
2 Port Antenna RFID Reader (Sargas)
2 Port Antenna RFID Reader (Impinj Speedway)
4 Port Antenna RFID Reader [Impinj Speedway]
UHF Integrated Antenna RFID Reader
Werable RFID/Barcode Reader (HyWEAR Compact)
RFID Mobile Reader
Short Range Reader
-Sony USB NFC Reader
-NFC Network RFID Reader
RFID Tag & Labels
-RFID Hard Tag
-RFID Label
-Others
-Others
RFID SOLUTIONS :โซลูชั่นที่เป็นไปได้ในการนำ RFIDไปใช้งาน
โซลูชั่นที่เป็นไปได้ในการนำ RFIDไปใช้งาน
– RFID INTELLIGENT CABINET SOLUTION
– RFID POOL ASSET SOLUTION (MEDICAL)
– RFID Tunnel System
– RFID Jewelry Mold Management
– RFID Returnable Container Tracking
– RFID Long Range People Tracking
– RFID Temperature Sensor Solution
– Active RFID: Real Time Location Tracking (RTLs)
– RFID VEHICLE VISIBILITY SOLUTION
– RFID POOL ASSET SOLUTION (MEDICAL)
– RFID Tunnel System
– RFID Jewelry Mold Management
– RFID Returnable Container Tracking
– RFID Long Range People Tracking
– RFID Temperature Sensor Solution
– Active RFID: Real Time Location Tracking (RTLs)
– RFID VEHICLE VISIBILITY SOLUTION
RFID SERVICES : บริการที่เป็นไปได้ในการนำ RFIDไปใช้งาน

บริการที่เป็นไปได้ในการนำ RFIDไปใช้งาน
– ระบบการรับและส่งของแบบอัตโนมัติสมบูรณ์แบบ
– ระบบตรวจสอบและเก็บสินค้าแบบ Real-Time
– สร้างเอกสารการรับสินค้าแบบ Real-Time
– สร้างเอกสารการส่งสินค้าไปให้ลูกค้าแบบ Real-Time Access Control
– ตรวจสอบคนและสิ่งของในโรงพยาบาล
– Intelligent Parking Lot
– Supply Chain
ปรึกษาฟรี Click me!
– ระบบตรวจสอบและเก็บสินค้าแบบ Real-Time
– สร้างเอกสารการรับสินค้าแบบ Real-Time
– สร้างเอกสารการส่งสินค้าไปให้ลูกค้าแบบ Real-Time Access Control
– ตรวจสอบคนและสิ่งของในโรงพยาบาล
– Intelligent Parking Lot
– Supply Chain
NFC คืออะไร


NFC คืออะไร
Near Field Communication (NFC) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีการส่งข้อมูลแบบไร้สาย และเทคโนโลยีการเชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์ เทคโนโลยีไร้สายที่นำมาใช้ใน NFC คือเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) ใช้คลื่นความถี่ 13.56 Mhz. ซึ่งเทคโนโลยี NFC จะรองรับกับเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีตามรายละเอียดด้านล่าง
NFC Forum Platform | RFID Compatible |
NFC Forum Type 1 tag | Innovision Topaz |
NFC Forum Type 2 tag | Mifare UltralightMifare Ultralight C |
NFC Forum Type 3 tag | Sony Felica |
NFC Forum Type 4 tag | DESfireSmartMX |
Source: NFC Forum Type Tags
ความรู้เพิ่มเติม
เทคโนโลยี NFC นี้ช่วยให้การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์สามารถทำได้ง่ายขึ้น ต่างจากเทคโนโลยีไร้สายประเภทอื่น ได้แก่ Wifi หรือ Bluetooth ที่ต้องมีตั้งค่าต่าง ๆ ก่อนการใช้งาน แต่เทคโนโลยี NFC เพียงแค่นำอุปกรณ์มือถือ เช่น โทรศัพท์ ไปใกล้กับเครื่องอ่านหรืออาร์เอฟไอดีการ์ด (RFID tag) ก็สามารถที่จะทำการส่งข้อมูลระหว่างกันได้เลย โดยไม่จำเป็นต้องมีการตั้งค่าใดใดก่อนการใช้งาน การใช้งานเทคโนโลยี NFC มีได้สามลักษณะ ได้แก่
1. ทำงานเป็นอาร์เอฟไอดีการ์ด (RFID Tag) อุปกรณ์มือถือ เช่นโทรศัพท์มือถือที่มีเครื่องอ่าน NFC ฝังอยู่สามารถทำงานเป็น RFID tag ได้ ซึ่งต่างจากเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดีในปัจจุบันที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องอ่านเพียงอย่างเดียว การทำงานในลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะใช้ใน Application ในเรื่องการเงิน เช่น การจ่ายเงินชำระค่าผ่านทาง การจ่ายเงินตาม POSต่าง ๆ เพียงแค่นำโทรศัพท์มือถือไปใกล้กับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี ที่ติดตั้งไว้ที่จุดชำระเงิน ก็สามารถทำการชำระเงินได้ แทนการชำระเงินด้วยบัตรอาร์เอฟไอดี หรือเงินสด
2. ทำงานเป็นเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) อุปกรณ์มือถือ เช่นโทรศัพท์มือถือที่มีเครื่องอ่าน NFC ฝังอยู่ สามารถทำงานเป็นเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี เมื่อต้องการอ่านข้อมูลจากอาร์เอฟไอดีการ์ด (RFID Tag) เช่น การใช้งานในลักษณะ Smart Posterเป็นต้น โดยที่โปสเตอร์จะมีอาร์เอฟไอดีสติกเกอร์ (RFID Sticker) เมื่อต้องการอ่านข้อมูลจาก RFID Sticker เพียงแค่นำโทรศัพท์มือถือที่มีเครื่องอ่านไปอ่านอาร์เอฟไอดีสติกเกอร์บนโปรเตอร์ ข้อมูลในโปสเตอร์ก็จะปรากฏขึ้นมาบนโทรศัพท์มือถือ
3. การสื่อสารในลักษณะ Pier to Pier (P2P) เครื่องอ่าน NFC สองเครื่องสามารถที่จะติดต่อสื่อสารกันโดยตรงได้ เมื่อต้องการส่งข้อมูล ตัวอย่างเช่น โทรศัพท์มือถือสองเครื่องที่มีฟังก์ชัน NFC สามารถที่จะส่งข้อมูลให้แก่กันได้โดยตรง เพียงนำโทรศัพท์ทั้งสองเครื่อง เข้ามาใกล้กันในระยะที่เครื่องอ่านที่อยู่ในโทรศัพท์ทั้งสองสามารถอ่านกันได้ ก็สามารถที่จะส่งข้อมูลถึงกันได้ โดยไม่ต้องผ่านเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือ ไม่ว่าจะเป็น GPRS หรือ EDGE เป็นต้น
ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีNFC จะได้รับการกล่าวถึงเป็นอย่างมากในปัจจุบัน แต่อุปกรณ์มือถือที่รองรับเทคโนโลยี NFC ยังมีอยู่อย่างจำกัด ดังนั้นในช่วงการเปลี่ยนผ่านจึงมีการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ขึ้นมาเพื่อรองรับกับเทคโนโลยี NFC ที่กำลังจะเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยี SIM Card + เสาอากาศ เป็นการต่อเสาอากาศเพิ่มจาก SIM Card ของโทรศัพท์มือถือ ได้แก่ SIMpass, N-Flex เป็นต้น ซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี้ ใช้อาร์เอฟไอดีคลื่นความถี่ 13.56 Mhz เหมือนกับเทคโนโลยี NFC เทคโนลียีนี้มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศจีน
เทคโนโลยีอีกประเภทคือ การติดอาร์เอฟไอดีการ์ด (RFID Tag) หรือสติกเกอร์บนโทรศัพท์มือถือ (ดูเพิ่มเติมใน ช่วยlink ไปที่ web เราในส่วน Tag ที่มี product mobile phone tag) จากเดิมที่อาร์เอฟไอดีสติกเกอร์(RFID Tag)ไม่สามารถที่จะทำงานบนผิวโลหะได้ ปัจจุบันเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีสติกเกอร์ (RFID Tag) มีการพัฒนาให้สามารถทำงานบนผิดโลหะได้ และมีขนาดเล็กและบาง เพื่อรองกับSmart Phone ที่มีพื้นผิวเป็นโลหะ